|
|
ชื่อ Thai Name
|
ลิ้นงูเห่า Lin ngu hao |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Clinacanthus siamensis Bremek. |
|
วงศ์ Family
|
ACANTHACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
-
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้พุ่มรอเลื้อย ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม ก้านใบยาว 1 – 1.5 ซม. ดอกช่อ ออกเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกสีแดงส้ม ปลายแยกเป็น 2 ปาก |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution
|
เป็นไม้ถิ่นเดียวของไทย พบเฉพาะทางภาคตะวันออก กระจายพันธุ์ในเขตฉะเชิงเทรา ระยอง จันทบุรี และตราด ชื่อสปีชีส์ตั้งเป็นเกียรติแก่ประเทศไทย
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ราก ตำพอก แก้พิษตะขาบหรือแมงป่องต่อย ใบ ตำหรือขยี้ ทาหรือพอก แก้พิษร้อนอักเสบ ถอนพิษแมลงหรือสัตว์กัดต่อย |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
พืชสมุนไพรในสวนป่าสมุนไพรเขาหินซ้อน ฉบับสมบูรณ์ น. 182 สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 80 สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 397 สารานุกรมสมุนไพร น. 397
|
การปลูก ลิ้นงูเห่าขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดและการปักชำ |
||
|