|
|
ชื่อ Thai Name
|
เล็บมือนาง Lep mue nang |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name |
Combretum indica (L.) Defilipps |
|
วงศ์ Family
|
COMBRETACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name
|
จะมั่ง จ๊ามั่ง มะจีมั่ง ไท้หม่อง (ภาคเหนือ) สะมัง (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) Drunken sailor, Rangoon creeper
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้เถาเนื้อแข็ง ใบเดี่ยว เรียงตรงข้าม กลีบดอกสีขาว แล้วเปลี่ยนเป็นสีแดงเข้ม มีกลิ่นหอม |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
มีถิ่นกำเนิดในเอเชียเขตร้อน สามารถปลูกได้ทั่วไป ออกดอกช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ราก ขับพยาธิในท้อง แก้พิษตานซาง ใบ รักษาแผลฝีหนอง แก้ปวดศีรษะ แก้ท้องอืด เมล็ด ขับพยาธิ แก้ตานขโมย เป็นยาถ่าย แก้ไข้ ทั้ง 5 แก้ไอ ขับพยาธิ และแก้ตานซาง |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
สมุนไพรสวนสิรีรุกขชาติ น. 175 สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 166 พืชสมุนไพรในประเทศไทย ตอนที่ 2 น. 184-185 สมุนไพรไทย น. 271 สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (4) น. 288-291 สมุนไพรไทย ตอนที่ 4 น. 352–353 |
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด การตอนกิ่ง หรือเอาเง้าไปปลูกก็ได้ แต่ต้องฝักให้ลึกประมาณ 4 นิ้ว เป็นพรรณไม้กลางแจ้ง ชอบแสงแดดแบบเต็มวัน ต้องการน้ำและความชื้นปานกลาง เจริญเติบโตได้ดีในดินปนทรายหรือดินร่วนปนทรายที่ระบายน้ำดี เติบโตได้เร็ว
|
||
|