|
|
ชื่อ Thai Name
|
หมีเหม็น Mi men |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Litsea glutinosa (Lour.) C. B. Rob.
|
|
วงศ์ Family
|
LAURACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
ดอกจุ๋ม (ลำปาง) ตังสีไพร (พิษณุโลก) ทังบวน (ปัตตานี) มะเย้อ ยุบเหยา (ชลบุรี ภาคเหนือ) ม้น (ตรัง) หมี (ลำปาง อุดรธานี) หมูทะลวง (จันทบุรี) หมูเหม็น (แพร่) อีเหม็น (กาญจนบุรี ราชบุรี) |
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้นสูงประมาณ 5-15 เมตร เปลือกต้น สีน้ำตาล ลำต้นแก่เป็นร่องแตก กิ่งอ่อนมีขน |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และตามป่าดงดิบ
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
- ผลสุก รับประทานได้ เปลือกต้น รสฝาดเฝื่อน แก้บิด แก้ปวด กล้ามเนื้อ แก้ผื่นคัน แสบร้อน ยาง รสฝาดร้อน แก้ฟกช้ำ ช้ำบวม วิธีใช้ “แก้พิษ แมลงสัตว์กัดต่อย” นำเปลือกต้นหมีเหม็นมา |
||
แหล่งข้อมูล Reference
|
- สยามไภษัชยพฤกษ์ น. 156 - สมุนไพรไทย น. 329 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (5) น. 173-174 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 6 น. 147-148
|
||
พิกัด UTM |
101º 30´ 17.8" E 13º 45´ 01.4" N 47P 0770784 m.E 1520867 m.N 47P 0771721 m.E 1522424 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด |
||
|