|
|
ชื่อ Thai Name
|
หางนกยูงไทย Hang nok yung thai |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Caesalpinia pulcherrima (L.) Sw. |
|
วงศ์ Family
|
FABACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
ขวางยอย (นครราชสีมา) จำพอ ซำพอ (แม่ฮ่องสอน) ซมพอ พญาไม้ผุ ส้มผ่อ ส้มพอ (ภาคเหนือ) นกยูงไทย (ภาคกลาง) Flower fence, Peacock ,s crest, Pride of Barbados
|
||
ลักษณะ Characteristics |
ไม้พุ่ม สูง 1-2.5 เมตร เปลือดลำต้นเรียบ สีน้ำตาล ตามกิ่งก้านมีหนาม |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution
|
มีถิ่นกำเนิดในอเมริกาใต้ หมู่เกาะเวสต์อินดีส ขึ้นได้ทั่วไป ในประเทศไทยพบทั่วทุกภาค
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
- เนื้อในเมล็ดสามารถรับประทานได้ |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- พืชสมุนไพรในสวนป่าสมุนไพรเขาหินซ้อน ฉบับสมบูรณ์ น. 224 - สมุนไพรไทย น. 333 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (5) น. 238 - 241
|
||
พิกัด UTM |
47P 0771341 m.E 1520821 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
การปลูก หางนกยูงไทยขยายพันธุ์โดยวิธีการเพาะเมล็ดและการตอนกิ่ง |
||
วิธีใช้ "แก้ปวดฟัน" นำดอกหางนกยูงสีเหลืองมา 1 กำมือ ต้มเดือด 10-15 นาที ในน้ำท่วมตัวยา กรองเอากากออกใช้อมเพื่อบรรเทาอาการปวดฟัน |