พรรณไม้มงคลพระราชทานประจำจังหวัดตราด
|
|
ชื่อ Thai Name
|
หูกวาง Hu kwang |
|
ชื่อวิทยาศาสตร์ Scientific Name
|
Terminalia catappa L. |
|
วงศ์ Family
|
COMBRETACEAE |
||
ชื่ออื่น ๆ Other Name |
โขน โคน (นราธิวาส) ดัดมือ ตัดมือ (ตรัง) ตาปัง (พิษณุโลก สตูล) ตาแปห์ (มลายู-นราธิวาส) หลุมปัง (สุราษฎร์ธานี) False kamani, Indian almond, Tropical almond
|
||
ลักษณะ Characteristics
|
ไม้ต้น ผลัดใบ ใบเดี่ยว เรียงเวียนรอบกิ่ง ดอกช่อ สีขาว ออกที่ง่ามใบ ผลสีเขียว เมื่อสุกสีเหลือง |
||
การกระจายพันธุ์ Distribution |
พบขึ้นตามหาดทราย หาดหิน และขึ้นได้ทั่วไป ออกดอกเดือนกุมภาพันธ์-เมษายน และสิงหาคม-ตุลาคม
|
||
ประโยชน์ Utilization
|
ราก ทำให้ประจำเดือนปกติ เปลือก ขับลม ใบ เป็นยาขับเหงื่อ แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ ผล เป็นยาถ่าย ทั้ง 5 ฝาดสมาน แก้ไข้ แก้ท้องเสีย และแก้บิด ส่วนที่ให้สี : ใบแก่ให้สีเขียวขี้ม้า |
||
แหล่งข้อมูล Reference |
- สมุนไพรไทย มรดกไทย น. 183 - สมุนไพรไทย น. 335 - สมุนไพรไม้พื้นบ้าน (5) น. 257-260 - สมุนไพรไทย ตอนที่ 4 น. 360-361
|
||
พิกัด UTM |
47P 0770848 m.E 1521027 m.N 47P 0770990 m.E 1521066 m.N 47P 0772115 m.E 1521339 m.N 47P 0772300 m.E 1521178 m.N 47P 0771223 m.E 1521683 m.N |
||
คิวอาร์โค้ด QR Code |
|
ขยายพันธุ์โดย การเพาะเมล็ด เมล็ดงอกใช้เวลาประมาณ 30 วัน ภายในระยะเวลา 3 เดือนต้นกล้าจะมีความสูงประมาณ 30 เซนติเมตร สามารถย้ายปลูก
|
||
|